วันอังคารที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2555

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
             รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
1.เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียม, ถ่ายภาพอากาศ, กล้องถ่ายวีดีทัศ
2.เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล เป็นสื่อบันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น เทปแม่เหล็ก, จานแม่เหล็ก
3.เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล เช่นคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
4.เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์, จอภาพ
5.เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดสำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร, เครื่องถ่ายไมโครฟิล์ม
6.เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล เช่น โทรทัศน์, วิทยุกระจ่ายเสียง, โทรเลข,
เทเล็กซ์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งระยะใก้ลและระยะไกล
               ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
       มีการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งในทางธุรกิจและทางการศึกษา ดังตัวอย่าง เช่น
-ระบบเอทีเอ็ม
-การบริหารและการทำธุรกรรมบนอินเทอร์เน็ต
-การลงทะเบียนเรียน
         พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร
การแสดงออกทางความคิดและการรูสึกในการใช้รูปแบบของเทคโนโลยีทุกประเภทที่นำมาประยุกต์ใช้ในการระบวนการจักหา จัดเก็บ สร้างและเผยแพร่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ภาพ ข้อความหรือตัวอักษร ตัวเลขและภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
       
   การใช้อินเตอร์เน็ต
     งานวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อความการสนทนากับเพื่อนๆและการค้นข้อมูลจาห้องสมุด
    นอกจากนี้งานวิจัยยังชี้ว่านักศึกษาส่วนใหญ่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศรูปแบบต่างๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู้
                สถานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
     งานวิจัยพบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์ที่บ้านและมีการใช้อินเตอร์เน็ตที่ห้องสมุดของสถาบัน
    นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีการใช้หรือมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศน้อยรูปแบบไหนบ้าง
2 ก.ค 2555
                           การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
     การใช้ระบบสนเทศเพื่อ การค้นคืนค้นหาหรือดึงข้อมูลและสารสนเทศเฉพระเรื่องที่ผู้ใช้ระบุแหล่งระบบรวมสารสนเทศไว้เป็นจำนวนมาก เพื่อประโยชน์ด้านต่างๆ เช่น การศึกษา เป็นต้น
            วัตถุประสงค์ในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
1.เพื่อทราบถึงรายละเอียดของข้อมูล
2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการศึกษาหรือทำงาน
3.เพื่อสร้างการเรียนรู้ในด้นตนเองและผู้อื่น
4.เพื่อตรวจสอบข้อมูล
5.เพื่อทำนำข้อมูลในได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
       Search Engine หมายถึงเครื่องมือหรือเว็บไซต์ที่อำนวยความสะดวกในการสืบค้นข้อมูลและข่าวสารให้แก่ผู้ใช้อินเตอร์เน็ต จากแหล่งข้อมูลเว็บไซต์
                    ประเภทของ   Search Engine
                    แบ่งออกเป็น 3 ประเภทดังนี้
1.อินเด็กเซอร์ท (Tndexers) การทำงานของ Search Engine แบบอินเด็กเซอร์ จะเป็นฐานขนาดใหญ่ที่อยู่กระจัดการจากอินเตอร์เน็ต ไม่มีการแสดงข้อมูลและข่าวสารให้แก่ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตจากแหล่งข้อมูลเว็บไซต์
2.ไดเร็กทอรี (Directorier) การค้นหาข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยกว่าการค้นคว้าข้อมูล
3.เมตะเสิรช์(Metasearch) Search Engine แบบเมตะเสรช์ใช้หลายๆวิธีการมาช่วยในการค้นหาข้อมูล
                                 ประโยชน์ Search Engine
           ใช้ค้นหาข้อมูลที่ต้องการใช้สะดวกรวดเร็วถูกต้องค้นหาข้อมูล
                                       เทคนิกการสืบค้นข้อมูล
1.มีประเด็นใช้แคบลง
2.การใช้คำที่ใก้ลเคียง
3.การใช้คำหลัก (Keyword)
4.หลีกเลียงการใช้ตัวเลข
5.ใช้เครื่องหมายบวกและลบช่วย
6.หลีกเลียงภาษาพูด
7.ใช้Aolraucod Search
                                    การสืบค้นโดยใช้ตรรกบูลีน
             Boo lean Word Scarehcsl
การใช้ตระบุลีน  เป็นการสืบค้นโดยใช้คำเชื่อมดังนี้
AND   เป็นการเชื่อมคำเพื่อจำกัดการสืบค้นให้แคบลงด้วย การวาง AND ใช้หน่วยคำหรือการไปได้ตัวเคืองใดๆระหว่างทำใน โปรแกรมTOR เป็นการเชื่อมคำเพื่อขยายการควรไปยังคำอื่นๆที่กำหนดหรือต้องการแสดงค้นจากคำ2คำ เช่น digi tal colleoticnor digital library NOT   เป็นการเชื่อมคำเพื่อจำกัดการสันให้แคบลง โดยจัดให้ระบบทรงจำไม่ต้องการทำที่อยู่ตามหลัง
                         ลำดับการค้นที่มีการใช้คำเชื่อม (Bodean Operotoss)
1.ระบบจะค้นคำที่อยู่ในวงเล็บก่อน
2.จากนั้นจึงกำเนินการค้นหาคำทุกคำที่อยู่หลัง NOT
3.ลำดับต่อไปจะเห็นหาคำที่อยู่ระหว่าง AND ทั้งหมด รวมถึงความอยู่ใก้ลกันแต่ไม่มี AND เชื่อมด้วย
4.ขั้นตอนสุดท้ายจะทำการค้นหาคำที่อยู่ระหว่าง OR ทั้งหมด 

วันที่ 9 กรกฎาคม 2555
คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
 
                        คอมพิวเตอร์   หมายถึง  เครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยชุดคำสั่ง  หรือโปรแกรมต่างๆสามารถเชื่อมต่อกับเครื่อข่ายได้หลายแบบ  ลักษณะคอมพิวเตอร์คือ มีศักยภาพสูงในการและเสียงประมวลผลข้อมูลเป็นตัวเลข  รูปภาพ  ตัวอักษร  และเสียง
                      ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์
             คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
             หมายถึง  ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์  แบ่งเป็น 5 ส่วนคือ
·       ส่วนที่ 1 หน่วยรับข้อมูลเข้า ( Input   Unit )
              เป็นวัสดุอุปกรณ์ที่นำมาเชื่อมต่อ  ทำหน้าที่ป้อนสัญญาณเข้าสู่ระบบ  เพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการ  ได้แก่
              -แป้นอักขระ ( Keyboard )
              - แผ่นซีดี ( CD-Rom )
              -ไมโครโฟน  ( Microphon )   เป็นต้น
·      ส่วนที่ 2 หน่วยประมวลผลกลาง ( Central   Processing  Unit )
                หรือที่เราเรียกกันว่า   CPU  ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางตรรกะและคณิตศาสตร์  รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
·       ส่วนที่ หน่วยความจำ ( Memory  Unit )
                ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลาง  และเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผล
·       ส่วนที่ 4 หน่วยแสดงผล  (Output  Unit )
               ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวณผล  หรือผ่านการคำนวณแล้ว
·       ส่วนที่ 5 อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ ( Peripheral  Equipment )
               เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น  เช่น  โมเด็ม ( modem ) แผงวงจรเชื่อมต่อเครื่อข่าย  เป็นต้น
 
                             ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1.             มีความเร็วในการทำงานสูง  สามารถประมวลผลได้เพียงชั่ววินาที   จึงใช้ในงานคำนวณต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว
2.             มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง  ทำงานได้ 24 ชั่วโมงใช้แทนกำลังคนได้มาก
3.             มีความถูกต้องแม้นยำ  ตามโปรแกรมสั่งงานและข้อมูลที่ใช้
4.             เก็บข้อมูลได้มาก  ไม่เปลืองเนื้อที่เอกสาร
5.             สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่ง  ผ่านระบบเครื่อข่ายได้อย่างรวดเร็ว  ช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน
                    ระบบคอมพิวเตอร์
หมายถึง  กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆกับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุด  เช่น  ระบบเสียภาษี  ระบบทะเบียนราฎร์  ระบบทะเบียนการค้า  ระบบเวช  ระเบียนของโรงพยาบาล  เป็นต้น
                   การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบประมวณลของข้อมูลคอมพิวเตอร์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
                   องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
                  มี 4  ส่วน  ดังนี้
1.     
   1.  ฮาร์ดแวร์ ( Hardware )  หรือส่วนเครื่อง
   2.  ซอฟแวร์  ( Software )  หรือส่วนชุดคำสั่ง
   3.  ข้อมูล ( Data )
   4.  บุคลากร ( People )
                       ฮาร์ดแวร์  ( hardware )
หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ส่วนต่างๆที่สัมผัสได้จับต้องได้  ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ
  1.  ส่วนประมวลผล ( Processor )
  2.  ส่วนความจำ ( Memoyr )
  3.  อุปรณ์รับเข้าและส่งออก ( Input – Output  Devlces )
  4.  อุปรณ์หน่วยเก็บข้อมูล ( Sto )
 
                   ส่วนที่  1 CPU
CPU   เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์เปรียบเสมือนเสมอ หน้าที่ ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์   ประมวลผลและเปรียบเทียบข้อมูลโดยทำการเปลี่ยนแปลงข้อมูลดิบและให้เป็นสารสนเทศที่มีประโยชน์ได้    ความเร็วของซีพียูขึ้นอยู่กับตัวให้จังหวะ เรียกว่า สัญญาณ 1  วินาทีมีหน่วยเป็นเฮิร์ตซ์  Hertz  เช่น สัญญาณความเร็ว  1 ล้านรอบใน 1 วินาที เทียบเท่าความเร็วนาฬิกา  1  จิกเฮิร์ต 1 GHz
                ส่วนที่ 1 หน่วยความจำ  Memory
                จำแนกเป็น  3  ประเภท   ดังนี้
     1.  หน่วยความจำหลัก ( Main  Memory )
     2.  หน่วยความจำรอง  ( Secondary Storage )
     3.  หน่วยเก็บข้อมูล
                          1. หน่วยความจำหลัก
แบ่งได้ 2 ประเภท คือ แบบ แรม( RAM ) และหน่วยความจำแบบ รอม ( ROM )
                             1.1 หน่วยความจำแบบ “แรม
RAM=Random Aecess Memory เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูล   ข้อมูลจะถูกเก็บไว้ชั่วคราวขณะทำงาน   เราเรียกความจำประเภทนี้ว่า หน่วยความจำแบบลบเลื่อนได้    Volatile   Memory
                             1.2 หน่วยความจำรอม “ รอม ( ROM.Read only Memory)
เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลบนฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เราเก็บโปรแกรมควบคุม เราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่า  หน่วยความจำแบบไม่ลบเลือน
( Nonvolatile   Memory )
                       2. หน่วยความจำสำรอง
มีไว้สำหรับสำรองหรือทำงานเก็บข้อมูลและโปรแกรมเนื่องจากความจำหลักมีจำกัด  ความจำสำรองสามารถสามารถเก็บได้หลายแบบ  เช่น แผ่นบันทึก ( Floppy  Disk )
จานบันทึกแบบแข็ง ( Hard  Disk ) แผ่นซีดีรอม ( CD-ROM )จานแสงแม่เหล็ก

วันที่ 16 กรกฎาคม 2555
                         หน่วยความจำสำรอง ( Secondary Memory Unit )       
        เก็บความจำสำรอง  หรือหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง เป็นหน่วยเก็บที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดไปหลังจากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว
                หน่วยความจำสำรองมีหน้าที่หลักคือ
 1. ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูลเพื่อใชในอนาคต
 2. ใช้ในการเก็บข้อมูล โปรแกรมไว้อย่างถาวร
 3. ใช้เป็นสื่อในการส่งผ่านระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่ง
                ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง
                   หน่วยความจำสำรองจะช่วยแก้ไขปัญหาการสูญเสียของข้อมูล  อันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผล  เมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในความจำหลักประเภทแรม  หากปิดเครื่องหรือมีปํญหาทางไฟฟ้า  อาจทำให้คอมพิวเตอร์สูญหายจึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำสำรอง  เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป  หน่วยความจำประเภทนี้ส่วนใหญ่จะพบในรูปแบบสื่อที่ใช้การบันทึกข้อมูลภายนอก  เช่น  ฮาร์ดดิสก์  แผ่นบันทึก  ซิปดิสก์  ซีดีรอม  ดีวีดี  เทปแม่เหล็ก  หน่วยความจำแบบแฟลช  หน่วยความจำสำรองนี้ถึงจะไม่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์  แต่เครื่องคอมพวเตอร์ก็สามารถทำงานได้
              ส่วนแสดงผลข้อมูล
                 คือ  ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้  อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่  จอภาพ  ( Monitor ) เครื่องพิมพ์ ( Printer )  เครื่องพิมพ์ภาพ ( Ploter ) และลำโพง ( Speaker ) เป็นต้น
                        บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ ( PEOPLEWARE )
                 หมายถึง  คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นอาจจะประกอบด้วยคนเพียงคนเดียว  หรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยงานคอมพิเตอร์
                ประเภทของบุคลากร ( Peopleware )
1. ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2. ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3. ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
             บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์  ( EDP Manager )
2. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน  ( System  Analast  หรือ  SA )
3. โปรแกรมเมอร์  ( Progarmmer )
4. ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์  ( Computer  Operrator )
5. พนักงานจัดเตรียมข้อมูล ( Data Entry Opertor )
         - นักวิเคราะห์ระบบงาน ทำการศึกษาระบบงานเดิม  ออกแบบระบบงานใหม่
         -โปรแกรมเมอร์ นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบไว้มาสร้างป็นโปรแกรม
          -วิศกรระบบ  ทำหน้าที่ในการออกแบบ  สร้าง ซ่อมบำรุงและดูแลรักษาฮาร์ดแวร์
         -พนักงานปฏิบัติการ  ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจประจำวัน
·       อาจแบ่งคอมพิวเตอร์ได้ 4 ระดับ  ดังนี้
1. ผู้จัดการระบบ  (System  Manager)   คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมาย
2. นักวิเคราะห์ระบบ ( System  analyst)  คือ       ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ให้เหมาะสม
3. โปรแกรมเมอร์  (Progarmmer ) คือ ผู้เขีนโปรแกรมสั่งงานคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
4. ผู้ใช้  (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป  ซึ้งต้องเรียนรู้วิธีการใช้งานเครื่องและวิธีการใช้งานโปรแกรม  เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ
                    
                                        ซอฟต์แวร์ ( Software )
             คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร  เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารวมกันใช้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามที่ต้องการ  เรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสามารถสร้าง  จัดเก็บ  และนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายๆชนิด  เข่น แผ่นบันทึก  แผ่นซีดี  แฟล็ชไดร์ฟ  ฮาร์ดดิสก์  เป็นต้น

                  หน้าที่ของซอฟต์แวร์
           ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์  ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย  ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็นหลายประเภท
                 ประเภทของซอฟต์แวร์
·       แบ่งได้  3 ประเภทใหญ่ๆ คือ
           - ซอฟต์แวร์ระบบ  ( System  Software )
          - ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application  Software )
          และซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ
1 .ซอฟต์แวร์ระบบ ( System  Software )
    เป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการเก็บระบบ  หน้าที่การทำงาน  คือ  ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์  เช่น  รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ
    หน้าที่ของซอฟต์แวร์ระบบ
1. ใช้ในการจัดการหน่ยรับเข้าและหน่วยส่งออก  เช่น  รับรู้การกดแป้นต่างๆบนแผงแป้นอักขระ
2. ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ  เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำหลัก
3. ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง
     ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ
แบ่งเป็น  ประเภท  คือ
1. ระบบปฏิบัติการ ( Operating )
2. ตัวแปลภาษา
   1.ระบบปฏิบัติการ  หรือเรียกย่อๆว่า  โอเอส ( Operating  System : OS  ) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์  ประกอบด้วย
            1.1 ดอส
            1.2 วินโดวส์ ( Windows )
                 พัฒนาต่อจากดอสโดยสั่งงานจากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอย่างเดียว
            1.3 ยูนิกส์ ( Unix )
                  พัฒนามาตั้งแต่ครั้งที่ใช้เครื่องมินิคอมพิวเตอร์  เป็นเทคโนโลยีแบบปิด
          1.4 ลีนุกซ์ ( Linux )
                พัฒนาการมาจากยูนิกส์สามารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูล  เช่น อินเทล
         1.5 แมคอินทอช  ( Macintosh )  
               เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
               ชนิดของระบบปฏิบัติการ  จำแนกได้เป็น  3  ชนิดด้วยกัน  คือ
     1. ประเภทใช้งานเดี่ยว  (Single – tasking)  ประเภทนี้จะกำหนดใช้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงาน
     2. ประเภทใช้หลายงาน ( Multi – tasking ) สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกัน  ผู้ใช้สามารถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน  เช่น  ระบบปฏิบัติการ  Windows  9 8 ขึ้นไป  และ UNIX  เป็นต้น
    3. ประเภทใช้งานหลายคน ( Multi – user ) ในหน่วยงานบางแห่งอาจต้องใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล  จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง

วันที่  23 กรกฎาคม 2555
2. ตัวแปลภาษา

          การพัฒนาซอฟต์แวร์ต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่งได้ง่าย เข้าใจได้เพื่อสามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้

          ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา ซึ่งได้แก่ ภาษา Basic , Pascal , C และภาษาโลโก้เป็นต้น

นอกจากนี้ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ทึ่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกได้แก่ Fortran Cobol และภาษา อาร์ฟีจี

 2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ Application Software

ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนอ การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น

 ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็น 2 ประเภท

     1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ Proprietary  Software

      2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป Packaged Software มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ Customized Package และ โปรแกรมมาตรฐาน Standard  Package
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จำแนกได้ 3 กลุ่มใหญ่ๆ
    1. กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
    2. กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และ มัลติมีเดีย Graphic and Multimedia
    3 กลุ่มใช้งานบนเว็บ Web and Communications

 1.กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
        ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์ รายงานเอกสาร นำเสนอผลงานและการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น- โปรแกรมประมวลคำ อาทิ Microsoft Word Sun Star office Writer
- โปรแกรมตารางคำนวณ อาทิ  Microsoft Excel , Sun Star office Cale
 -โปรแกรมนำเสนอผลงาน อาทิ Microsoft Power Point Sun Star office Impress
      2. กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และ มัลติมีเดีย Graphic and Multimedia
  ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดียเพื่อให้อ่านง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหวและการสร้างและออกแบบเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น
-โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio Professional
-โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ CorelDraw , Adobe Photoshop
-โปรแกรมตัดต่อวิดีโอและเสียง อาทิ Adobe premiere , Pinnacle Studio DV
-โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Author ware , Tool book  Instructor , Adobe Director
-โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash , Adobe Dreamweaver
        3.กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
   เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กกลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเช็ดอีเมล์ การท่องเว็บไซค์ การจัดการดูแลเว็บ การจัดการดูแลเว็บ ตัวอย่างโปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่
   -โปรแกรมจัดการอีเมล์ อาทิ Microsoft outlook , Mozzila Thunderbird
- โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer , Mozzila Firefox
-โปรแกรมประชุมทางไกล Video conference อาทิ  Microsoft Net meeting
-โปรแกรมส่งข้อความด่วน Instant Messaging อาทิ MSN Messenger / Window Messenger , ICQ
-โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ PIRCH , MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
  การใช้ภาษาคล่องนี้แม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษรเป็นประโยคข้อความภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่าภาษา คอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยูมากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้ส่งงานการคำนวณทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
  ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
    การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร
 ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
     เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการงาน มนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบที่บอกสิ่ง ที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์
  ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วยภาษาเครื่อง Machine Languages  เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แมนตัวเลข 0 และ 1 ได้ผู้ออกแบบทางคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้ส่งงานคอมพิวเตอร์มากกว่าภาษาเครื่อง
   ภาษาแอสเซมบลี Assembly Languages
        เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่องและภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์  ภาษาแอสเซมบลีก็ยังคงมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มากและจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษา

ภาษาระดับสูง High – Level Languages 
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statement ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรียนรู้และสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
ภาษาระดับสูงมีอยู่ 2 ชนิด คือ
 คอมไพเลอร์ Compiler และ อินเทอร์พรีเตอร์ Interpreter
 - คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อนแล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
  - อินเทอร์พรีเตอร์  จะทำการแปลที่ละคำสั่งแล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป
*** ข้อแตกต่าง   ระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรีเตอร์จึงอยู่แปลโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง